แบบสวดกรรมวาจาในอุปสมบทกรรม

คำสมมติตนเพื่อสอนซ้อม

       สมมตินาคชื่อ  โอภาโส สมมติพระอุปัชฌายะชื่อ  โสภะโณ

       สุณาตุ/  เม  ภันเต  สังโฆ//   โอภาโส,  อายัส๎มะโต  โสภะณัสสะอุปะสัมปะทาเปกโข//  ยะทิ  สังฆัสสะ  ปัตตะกัลลัง//  อะหัง  โอภาสัง อะนุสาเสยยัง//

คำสอนซ้อม

       สุณะสิ๊/  โอภาสะ, อะยันเต  สัจจะกาโล  ภูตะกาโล//  ยัง ชาตัง /    ตัง  สังฆะมัชเฌ  ปุจฉันเต/  สันตัง  อัตถีติ  วัตตัพพัง//  อะสันตัง  นัตถีติ วัตตัพพัง/ มา โข วิตถาสิ/  มา โข  มังกุ  อะโหสิ/ เอวันตัง  ปุจฉิสสันติ/ สันติ๊/  เต  เอวะรูปา  อาพาธา//  ฯลฯ   

(ตามแบบสวดถามอันตรายิกธรรมข้างบน)

คำขอเรียกอุปสัมปทาเปกขะเข้ามา

       สุณาตุ/  เม  ภันเต  สังโฆ/  โอภาโส, อายัส๎มะโต  โสภะณัสสะ อุปะสัมปะทาเปกโข//  อะนุสิฏโฐ  โส  มะยา/  ยะทิ  สังฆัสสะ   ปัตตะกัลลัง/ โอภาโส   อาคัจเฉยยะ//   (คำเรียก)   อาคัจฉาหิ

คำพระอุปัชฌายะกล่าวเผดียงสงฆ์

       อิทานิ  โข  อาวุโส  (ภันเต)// อะยัง  โอภาโส  นามะ  สามะเณโร/ มะมะ  อุปะสัมปะทาเปกโข  อุปะสัมปะทัง  อากังขะมาโน/  สังฆัง  ยาจะติ/ อะหัง  สัพพะมิมัง  สังฆัง  อัชเฌสามิ// สาธุ  อาวุโส  (ภันเต)     สัพโพยัง  สังโฆ/  อิมัง  โอภาสัง  นามะ สามะเณรัง/  อันตะรายิเก  ธัมเม   ปุจฉิต๎วา/  ตัตถะ  ปัตตะกัลลัตตัง  ญัต๎วา/  ญัตติจะตุตเถนะ  กัมเมนะ  อะกุปเปนะฐานาระเหนะ อุปะสัมปาเทมาติ// กัมมะสันนิฏฐานัง  กะโรตุ//

ที่ประชุมสงฆ์รับพร้อมกันว่า  สาธุ

       หมายเหตุ  บทว่า อาวุโส  นั้น ถ้ามีภิกษุแก่พรรษากว่าอุปัชฌาย์ร่วมประชุมอยู่ด้วย  พึงใช้  ภันเต แทน

คำสมมติตนเพื่อถามอันตรายิกธรรม

       สุณาตุ/ เม  ภันเต  สังโฆ//  อะยัง โอภาโส/ อายัส๎มะโต โสภะณัสสะ  อุปะสัมปะทาเปกโข//  ยะทิ สังฆัสสะ  ปัตตะกัลลัง/ อะหัง  โอภาสัง  อันตะรายิเก  ธัมเม  ปุจเฉยยัง//

คำถามอันตรายิกธรรม

       สุณะสิ๊/  โอภาสะ//  อะยันเต  สัจจะกาโล  ภูตะกาโล,  ยัง ชาตัง /  ตัง  ปุจฉามิ,/  สันตัง  อัตถีติ  วัตตัพพัง/  อะสันตัง  นัตถีติ  วัตตัพพัง/  สันติ  เต  เอวะรูปา  อาพาธา ?//  (ถาม)  กุฏฐัง  ฯลฯ  โก  นามะ  เต  อุปัชฌาโย//  (ตอบ)  นัตถิ  ภันเต  ฯลฯ  อุปัชฌาโย  เม  ภันเต  อายัส๎มา โสภะโณ  นามะ//

กรรมวาจาอุปสมบท

       สุณาตุ/  เม ภันเต  สังโฆ/อะยัง โอภาโส/ อายัส๎มะโต โสภะณัสสะ  อุปะสัมปะทาเปกโข//  ปะริสุทโธ  อันตะรายิเกหิ  ธัมเมหิ// ปะริปุณณัสสะ  ปัตตะจีวะรัง//  โอภาโส  สังฆัง  อุปะสัมปะทัง  ยาจะติ// อายัส๎มะตา โสภะเณนะ  อุปัชฌาเยนะ// ยะทิ สังฆัสสะ  ปัตตะกัลลัง//
สังโฆ/  โอภาสัง  อุปะสัมปาเทยยะ//อายัส๎มะตา โสภะเณนะ อุปัชฌาเยนะ//  เอสา  ญัตติ//

       สุณาตุ/  เม ภันเต  สังโฆ/อะยัง โอภาโส/ อายัส๎มะโต โสภะณัสสะ  อุปะสัมปะทาเปกโข// ปะริสุทโธ  อันตะรายิเกหิ  ธัมเมหิ// ปะริปุณณัสสะ  ปัตตะจีวะรัง// โอภาโส  สังฆัง  อุปะสัมปะทัง  ยาจะติ// อายัส๎มะตา  โสภะเณนะ  อุปัชฌาเยนะ// สังโฆ  โอภาสัง   อุปะสัมปาเทติ// อายัส๎มะตา  โสภะเณนะ  อุปัชฌาเยนะฯ  ยัสสายัส๎มะโต  ขะมะติ/ โอภาสัสสะ  อุปะสัมปะทา/ อายัส๎มะตา  โสภะเณนะ  อุปัชฌาเยนะ// โส  ตุณ๎หัสสะ//  ยัสสะ  นะ  ขะมะติ//  โส  ภาเสยยะ//

       ทุติยัมปิ/  เอตะมัตถัง  วะทามิ//  สุณาตุ/ เม ภันเต  สังโฆ//  อะยัง โอภาโส/อายัสมะโต โสภะณัสสะ  อุปะสัมปะทาเปกโข//  ฯลฯ   โส   ภาเสยยะ//

       ตะติยัมปิ/  เอตะมัตถัง  วะทามิ//  สุณาตุ/  เม ภันเต สังโฆ// ฯลฯ โส  ภาเสยยะ//

       อุปะสัมปันโน  สังเฆนะ/โอภาโส  อายัส๎มะตา  โสภะเณนะ อุปัชฌาเยนะ/ ขะมะติ  สังฆัสสะ// ตัส๎มา ตุณ๎หี// เอวะเมตัง/  ธาระยามิ//

       หมายเหตุ  อนุสาวนาที่ ๒  ที่ ๓  ซึ่ง  ฯลฯ  ไว้นั้นพึงสวดเต็มความเหมือนอนุสาวนาที่ ๑

สำหรับนาคคู่

       อุปสัมปทาเปกขะมีหลายรูป  อุปสมบทพร้อมกันได้คราวละ  ๒ รูป        ๓ รูป   แต่ให้มีพระอุปัชฌายะองค์เดียวกันได้  คำสวดกรรมวาจา  จึงต้องเปลี่ยน  วิภัตติ  วจนะ  ให้ถูกต้องตามหลักบาลีดังนี้, สมมตินาคชื่อ ปุณโณ, สุโภ,  สมมติพระอุปัชฌายะชื่อ  มะนุสสะนาโค

คำสวดสมมติและคำสอนซ้อม

       สุณาตุ เม ภันเต  สังโฆ, ปุณโณ จะ สุโภ จะ อายัส๎มะโต มะนุสสะนาคัสสะ  อุปะสัมปะทาเปกขา, ยะทิ  สังฆัสสะ  ปัตตะกัลลัง, อะหัง  ปุณณัญจะ  สุภัญจะ  อะนุสาเสยยัง

       สุณะสิ๊  ปุณณะ  อะยันเต  สัจจะกาโล  ภูตะกาโล, ยัง  ชาตัง  ฯลฯ อุปัชฌาโย  เม ภันเต  อายัสมา มะนุสสะนาโค นามะ

(ถ้าถามทีละรูปข้อความเหมือนกัน)

คำเรียกอุปสัมปทาเปกขะเข้ามา

       สุณาตุ เม  ภันเต  สังโฆ,  ปุณโณ จะ สุโภ จะ  อายัส๎มะโต มะนุสสะนาคัสสะ  อุปะสัมปะทาเปกขา, อะนุสิฏฐา  เต  มะยา, ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง,  ปุณโณ จะ สุโภ จะ  อาคัจเฉยยุง (คำเรียก) อาคัจฉะถะ

คำสมมติและคำถามอันตรายิกธรรม

       สุณาตุ  เม ภันเต สังโฆ, อะยัญจะ ปุณโณ อะยัญจะ สุโภ,  อายัส๎มะโต  มะนุสสะนาคัสสะ  อุปะสัมปะทาเปกขา,  ยะทิ  สังฆัสสะ  ปัตตะกัลลัง,  อะหัง  ปุณณัญจะ  สุภัญจะ  อันตะรายิเก  ธัมเม ปุจเฉยยัง

(แล้วสอบถามทีละรูป)

คำอุปัชฌายะพึงกล่าวเผดียงสงฆ์

       อิทานิ  โข  อาวุโส  (ภันเต)  อะยัญจะ  ปุณโณ นามะ  สามะเณโร, อะยัญจะ  สุโภ  นามะ  สามะเณโร, มะมะ อุปะสัมปะทาเปกขา, อุปะสัมปะทัง  อากังขะมานา, สังฆัง  ยาจันติ, อะหัง  สัพพะมิมัง สังฆัง  อัชเฌสามิ,  สาธุ  อาวุโส  (ภันเต) สัพโพยัง สังโฆ, อิมัญจะ  ปุณณัง  นามะ  สามะเณรัง, อิมัญจะ  สุภัง  นามะ  สามะเณรัง, อันตะรายิเก  ธัมเม  ปุจฉิต๎วา, ตัตถะ ปัตตะกัลลัตตัง ญัต๎วา, ญัตติจะตุตเถนะ กัมเมนะ  อะกุปเปนะ ฐานาระเหนะ  อุปะสัมปาเทมาติ,  กัมมะสันนิฏฐานัง  กะโรตุฯ

       หมายเหตุ  บทว่า  อาวุโส  นั้น ถ้ามีพระภิกษุแก่พรรษา  กว่าอุปัชฌายะร่วมประชุมอยู่ด้วย  พึงใช้ ภันเต แทน

กรรมวาจาอุปสมบท

       สุณาตุ  เม  ภันเต  สังโฆ, อะยัญจะ ปุณโณ, อะยัญจะ สุโภ,  อายัส๎มะโต  มะนุสสะนาคัสสะ  อุปะสัมปะทาเปกขา, ปะริสุทธา อันตะรายิเกหิ  ธัมเมหิ,  ปะริปุณณะมิเมสัง  ปัตตะจีวะรัง, ปุณโณ  จะ สุโก จะ สังฆัง อุปะสัมปะทัง  ยาจันติ,  อายัส๎มะตา  มะนุสสะนาเคนะอุปัชฌาเยนะ,  ยะทิ  สังฆัสสะ  ปัตตะกัลลัง, สังโฆ  ปุณณัญจะ สุภัญจะ อุปะสัมปาเทยยะ, อายัส๎มะตา  มะนุสสะนาเคนะ  อุปัชฌาเยนะ,  เอสา  ญัตติฯ

       สุณาตุ  เม ภันเต สังโฆ, อะยัญจะ ปุณโณ  อะยัญจะ  สุโภ,   อายัส๎มะโต  มะนุสสะนาคัสสะ อุปะสัมปะทาเปกขา, ปะริสุทธา อันตะรายิเกหิ  ธัมเมหิ,  ปะริปุณณะมิเมสัง  ปัตตะจีวะรัง, ปุณโณ  จะ สุโภ  จะ สังฆัง อุปะสัมปะทัง  ยาจันติ, อายัส๎มะตา  มะนุสสะนาเคนะ
อุปัชฌาเยนะ. สังโฆ  ปุณณัญจะ  สุภัญจะ  อุปะสัมปาเทติ,  อายัส๎มะตา มะนุสสะนาเคนะ  อุปัชฌาเยนะ. ยัสสายัส๎มะโต  ขะมะติ,  ปุณณัสสะ  จะ   สุภัสสะ จะ   อุปะสัมปะทา, อายัส๎มะตา   มะนุสสะนาเคนะ  อุปัชฌาเยนะ โส  ตุณ๎หัสสะ  ยัสสะ  นะ  ขะมะติ  โส  ภาเสยยะ,

       ทุติยัมปิ  เอตะมัตถัง  วะทามิ,  สุณาตุ  เม ภันเต  สังโฆ,  อะยัญจะ ปุณโณ,  อะยัญจะ  สุโภ,  อายัส๎มะโต  มะนุสสะนาคัสสะ  อุปะสัมปะทา-เปกขา, ฯลฯ  โส ภาเสยยะฯ

       ตะติยัมปิ  เอตะมัตถัง  วะทามิ, สุณาตุ  เม ภันเต  สังโฆ, ฯลฯ        โส  ภาเสยยะฯ

       อุปะสัมปันนา สังเฆนะ, ปุณโณ  จะ สุโภ จะ, อายัส๎มะตา  มะนุสสะนาเคนะ อุปัชฌาเยนะ, ขะมะติ  สังฆัสสะ, ตัส๎มา ตุณ๎หี, เอวะเมตัง  ธาระยามิฯ

หมายเหตุ  ในที่ลงเครื่องหมาย  ฯลฯ  ไว้นั้น  ให้สวดเต็มความ

ความหมายของการใช้เครื่องหมายคั่น

       –  คำที่คั่นด้วย  /  หมายถึง  หยุดลากเสียงทิ้งระยะสั้น

       –  คำที่คั่นด้วย  // หมายถึง  หยุดลากเสียงทั้งระยะยาว